วิชาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทร 02026

วันศุกร์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

ขั้นตอนการทำโครงงาน

การวางแผนทําโครงงาน

การทําโครงงานมีขั้นตอนกระบวนการ ดังนี้
          1) การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผูเรียนจะตองคิด และเลือกหัว เรื่องของโครงงานดวยตนเองวาอยากจะศึกษาอะไร ทําไมจึงอยาก ศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะไดมาจากปญหา คําถามหรือความ อยากรูอยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ของผูเรียนเอง หัวเรื่องของ โครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครไดอานชื่อเรื่องแลว ควรเขาใจและรูเรื่องวาโครงงานนี้ทําจากอะไร และควรคํานึงถึงประเด็นความเหมาะสมของระดับความรู ความสามารถของผูเรียน วัสดุ อุปกรณที่ใช งบประมาณ ระยะเวลา ความปลอดภัย และแหลงความรู เปนตน
          2) การวางแผนการทําโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเคาโครง ของโครงงาน ซึ่งตองมีแนวคิดที่กําหนดไวลวงหนาและเพื่อใหการ ดําเนินการเปนไปอยางรัดกุมและรอบคอบ ไมสับสน แลวนําเสนอตอ ครูประจํากลุมหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบกอนดําเนินการ ขั้นตอไป การเขียนเคาโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทําโครงงาน ซึ่งควรประกอบดวยหัวขอตอไปนี้
                   2.1) ชื่อโครงงาน : เปนชื่อเรื่องที่ผูเรียนจะทําการศึกษา คนควาเพื่อหาคําตอบหรือหาแนวทางในการแกปญหา การตั้งชื่อเรื่องควรสื่อความหมายใหไดวาเปนโครงงานที่จะทําอะไร เพื่อใคร /อะไร ควรเปนขอความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายไดตรง
                   2.2) ชื่อผูทําโครงงาน : เปนการระบุชื่อของผูทําโครงงาน ถา เปนโครงงานกลุมใหระบุชื่อผูทําโครงงานทุกคน พรอมเขียน รายละเอียดงานหรือหนาที่ความรับผิดชอบในการทําโครงงานของแต ละคนใหชัดเจน
                   2.3) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน : เปนการระบุชื่อผูที่ใหคําปรึกษา ใหคําแนะนําในการทําโครงงานของผูเรียน
                   2.4) หลักการและเหตุผลของโครงงาน : เปนการอธิบายวา เหตุใดจึงเลือกทําโครงงานเรื่องนี้ มีความสําคัญอยางไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวของ เรื่องที่ทําเปนเรื่องใหมหรือมีผูอื่นไดศึกษา คนควาเรื่องนี้ไวบางแลว ถามีไดผลอยางไร เรื่องที่ทําไดขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผูอื่นทําไวอยางไร หรือเปนการทําซ้ำเพื่อ ตรวจสอบผล
                   2.5) จุดมุงหมายหรือวัตถุประสงค : ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได เปนการบอกขอบเขตของงานที่จะทําใหชัดเจนขึ้น ซึ่ ง จุ ด มุ ง ห ม า ย ห รื อ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค มั ก  เ ขี ย น ว า เ พื่ อ ศึกษา. . . . . . . . . . . .. . . . เพื่อเปรียบเทียบ. . . . . . เพื่อ ผลิต. . . . . . . . . . . . . . เพื่อทดลอง. . . . . . . . . . . หรือเพื่อ สํารวจ. . . . . . . . . . . . . . . . . ซึ่งจุดประสงคของโครงงานที่จะบงบอกวาเปนโครงงานประเภทใด (ตามเนื้อหาบทที่ 2) และจุดมุงหมาย ของโครงงานจะเปนทิศทางในการกําหนดวิธีการดําเนินโครงการ
                   2.6) สมมติฐานในการทําโครงงาน (ถามี) : สมมติฐานเปน คําตอบหรือคําอธิบายที่คาดไวลวงหนา ซึ่งอาจจะถูกหรือไมก็ได การ เขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่ สําคัญ คือ เปนขอความที่มองเห็นแนวทางในการดําเนินการทดสอบ ได โครงงานวิจัยที่กําหนดสมมุติฐานควรเปนโครงงานประเภททดลอง ซึ่งมักจะตองกําหนดตัวแปรในกระบวนการทดลอง นอกจากนี้ควรมี ความสัมพันธระหวางตัวแปรอิสระ (ตน) และตัวแปรตาม ตัวแปรแทรก ซอน ซึ่งตัวแปรที่เกี่ยวของ : ตัวแปรอิสระ (ตน) สิ่งที่เปนเหตุของ ปญหา ตัวแปรตาม คือสิ่งที่  เปนผล ตัวแปรแทรกซอน คือสิ่งที่อาจมีผล ตอตัวแปรตาม โดยผูวิจัยไมตองการใหเกิดเหตุการณนั้นขึ้น
                   2.7) วิธีดําเนินงานและขั้นตอนการดําเนินงาน : เปนการ เขียนใหเห็นขั้นตอนของการทําโครงงานตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดการทํางาน โดยเขียนใหชัดเจนวา จะตองทําอะไร ทําเมื่อไหร ที่ไหน ให ละเอียดทุกขั้นตอนและกิจกรรม
                   2.8) แผนปฏิบัติงาน : เปนการนําขั้นตอนการทําโครงงานมา เขียนในรูปของปฏิทินตารางกําหนดการทํางานในแตละขั้นตอน
                   2.9) ผลที่คาดวาจะไดรับ : เปนการเขียนใหเห็นถึงประโยชน และผลที่คาดวาจะไดรับจากการทําโครงงาน โดยใหระบุวาจะเกิด หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาเลือกโครงงานเพื่อพัฒนา ทักษะการเรียนรู (ทร 02006) 42 ประโยชนแกใคร เกิดขึ้นอยางไร ทั้งโดยทางตรงหรือ    ทางออมและผล ที่คาดวาจะไดรับจะตองสอดคลองกับจุดมุงหมายหรือวัตถุประสงค
                   2.10) เอกสารอางอิง : รายชื่อเอกสารที่นํามาอางอิงเพื่อ ประกอบการทําโครงงาน ตลอดจนการเขียนรายงานการทําโครงงานควรเขียนตามหลักการที่นิยมกัน
                               
          3) การดําเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานใหความเห็นชอบเคา โครงของโครงงานแลว ตอไปก็ เปนขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ ระบุไว ผูเรียนตองพยายามทําตามแผนงานที่วางไว เตรียมวัสดุ อุปกรณและสถานที่ใหพรอมปฏิบัติงานดวยความละเอียดรอบคอบ คํานึงถึงความประหยัดและความปลอดภัยในการทํางาน ตลอดจนการ บันทึกขอมูลตาง ๆ วาไดทําอะไรไปบาง ไดผลอยางไร    มีปญหาและ ขอคิดเห็นอยางไร พยายามบันทึกใหเปนระเบียบและครบถวน
          4) การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เปนวิธีสื่อความหมายวิธี หนึ่งที่จะใหผูอื่นไดเขาใจถึงแนวคิด วิธีการดําเนินงาน ผลที่ไดตลอดจนขอสรุปและขอเสนอแนะตาง ๆ จากการศึกษาคนควาตั้ง  แต ตนจนจบ การเขียนรายงานโครงงานอาจไมระบุตายตัวเหมือนกันทุก โครงงาน สวนประกอบของหัวขอในรายงานตองเหมาะสมกับประเภท ของโครงงานและระดับชั้นของผูเรียน องคประกอบของการเขียน รายงานโครงงาน แบงกวาง ๆ เปน 3 สวน ดังนี้
                   4.1) สวนปกและสวนตน ประกอบดวย
                   (1) ชื่อโครงงาน หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาเลือกโครงงานเพื่อพัฒนา ทักษะการเรียนรู (ทร 02006)
                    (2)ชื่อผูทําโครงงาน ระดับ สถานศึกษา และวันเดือนปที่ จัดทํา
                    (3) ชื่อครูประจํากลุม อาจารยที่ปรึกษา
                   (4) คํานํา
                   (5) สารบัญ
                   (6) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถามี)
                   (7) บทคัดยอสั้น ๆ ที่บอกเคาโครงอยางยอ ๆ ซึ่ง ประกอบดวย เรื่อง วัตถุประสงค วิธีการศึกษา ระยะเวลา และสรุปผล
                   (8) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือ หนวยงานที่ใหความชวยเหลือหรือมีสวนเกี่ยวของ
          4.2) สวนเนื้อเรื่อง ประกอบดวย
                    (1) บทนํา บอกความเปนมา ความสําคัญของโครงงาน บอก เหตุผล หรือเหตุจูงใจในการเลือกหัวขอโครงงาน
                   (2) วัตถุประสงคของโครงงาน
                   (3) สมมติฐานของการศึกษาคนควา
                   (4) การดําเนินงาน อาจเขียนเปนตาราง แผนผังโครงงาน เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามหัวขอเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงคของ โครงงาน และพิสูจนคําตอบ (สมมติฐาน)
                   (5) สรุปผลการศึกษา เปนการอธิบายคําตอบที่ไดจาก การศึกษาคนควา ตามหัวขอยอยที่ตองการทราบ วาเปนไปตาม สมมติฐานหรือไม หนังสือเรียนสาระทักษะการเรียนรู รายวิชาเลือกโครงงานเพื่อพัฒนา ทักษะการเรียนรู (ทร 02006)
                   (6) อภิปรายผล บอกประโยชน หรือคุณคาของผลงานที่ได และบอกขอจํากัดหรือปญหา อุปสรรค (ถามี) พรอมทั้งบอก ขอเสนอแนะในการศึกษาคนควา โครงงานลักษณะใกลเคียงกัน
          4.3) สวนทาย ประกอบดวย
                   (1) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอางอิง หรือเอกสารที่ใช คนควา ซึ่งมีหลายประเภท เชน หนังสือ ตํารา บทความ หรือคอลัมน ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมตางกัน เชน หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ : สํานักพิมพปที่พิมพ บทความในวารสารชื่อผูเขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปที่หรือเลมที่ : หนา ;วัน เดือน ป. คอลัมนจากหนังสือพิมพ ชื่อผูเขียน "ชื่อคอลัมน : ชื่อเรื่องใน คอลัมน" ชื่อหนังสือพิมพ. วัน เดือน ป. หนา.
                   (2) ภาคผนวก เชน โครงรางโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ

          5) การนําเสนอผลงาน การนําเสนอผลงาน เปนขั้นตอนสุดทาย ของการทําโครงงานและเขาใจถึงผลงานนั้น การนําเสนอผลงานอาจ ทําไดหลายรูปแบบ ขึ้นอยูกับความเหมาะสมตอประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผูเรียน เชน การแสดงบทบาทสมมติ การเลา
                                  

                          

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น