วิชาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทร 02026

วันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2558

2.ทักษะที่สำคัญในการทำโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้

เรื่องที่ 1 ทักษะที่จำเป็นในการทำโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้
1.1.ทักษะด้านการจัดการข้อมูลสารสนเทศ
          การจัดทําขอมูลใหเปนสารสนเทศ (www. krutong.) การจัดทําขอมูลใหเปนสารสนเทศ               ที่จะเปนประโยชนตอการใชงาน  จําเปนตองอาศัยเทคโนโลยี เขามาชวยในการดําเนินการ  เริ่มตั้งแตการรวบรวม  และตรวจสอบขอมูล  การดําเนินการประมวลผลขอมูลใหกลายเปนสารสนเทศ  และการดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใชงาน ดังตอไปนี้
          ก. การรวบรวมและตรวจสอบขอมูล
                   1)  การเก็บรวบรวมขอมูล  เปนเรื่องของการเก็บรวบรวมขอมูลซึ่งมีจํานวนมาก และตองเก็บใหไดอยางทันเวลา  เชน ขอมูลการลงทะเบียนเรียน ขอมูลประวัติบุคลากร  ปจจุบันมีเทคโนโลยีชวยในการจัดเก็บอยู เปนจํานวนมาก เชน  การปอนขอมูลเขาเครื่องคอมพิวเตอร การอานขอมูลจากรหัสแทง          การตรวจใบลงทะเบียนที่มีการฝนดินสอดําในตําแหนงตาง ๆ  เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลเชนกัน
                   2)  การตรวจสอบขอมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมขอมูลแลวจําเปนตองมีการตรวจสอบขอมูล เพื่อความถูกตอง ขอมูลที่เก็บเขาในระบบตองมีความเชื่อถือได  หากพบที่ ผิดพลาดตองแกไข การตรวจสอบ  ขอมูลมีหลายวิธี เชน  การใชผูปอนขอมูลสองคนปอนขอมูลชุดเดียวกันเขาคอมพิวเตอรแลวเปรียบเทียบกัน
          ข. การประมวลผลขอมูล แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
                   1) การประมวลผลดวยมือวิธีนี้เหมาะกับขอมูลจํานวนไมมากและไมซับซอน อุปกรณในการคํานวณไดแก เครื่องคิดเลข ลูกคิด
                   2)  การประมวลผลดวยเครื่องจักร  วิธีนี้เหมาะกับขอมูลจํานวนปานกลาง และไมจําเปน     ตองใชผลในการคํานวณทันทีทันใดเพราะตองอาศัย เครื่องจักร และแรงงานคน
                   3)  การประมวลผลดวยคอมพิวเตอร  วิธีนี้เหมาะกับงานที่มีจํานวนมาก ไมสามารถ          ใชแรงงานคนได  และงานมีการคํานวณที่ยุงยาก ซับซอน  การคํานวณดวยเครื่องคอมพิวเตอร จะใหผลลัพธที่
ถูกตอง แมนยํา และรวดเร็ว

                   4) การสื่อสาร ขอมูลตองกระจายหรือสงตอไปยังผูใชงานที่หางไกลไดงาย การสื่อสารขอมูลจึงเปนเรื่องสําคัญและมีบทบาทที่สําคัญยิ่งที่จะทําใหการสงขาวสารไปยังผูใชทําไดรวดเร็วและทันเวลา
1.2.ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ  
           ทักษะการคิดเปนศักยภาพที่สําคัญสําหรับผูเรียนที่จะตองใชในการวางแผนดําเนินงาน  และนําผลการจัดทําโครงงานไปใช อยางไรก็ตามขอเสนอแนะวา ทักษะการคิดทั้งหลายผูเรียนควรใหความสนใจพัฒนาฝกฝนทักษะการคิด  เพราะเปนเครื่องมือสําคัญที่จะติดตัวและนําไปใชไดตลอดกาล อยางไมมีขีดจํากัด และเปนพิเศษสําหรับทักษะการคิดแบบอยางเปนระบบ  (System  Thinking)  เปน ลักษณะการคิดที่ตองมีสวนประกอบสองสวนทั้งการคิดเชิงวิเคราะห (Analytical Thinking)และการคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ซึ่งตองเปนกระบวนการคิดที่มีปฏิสัมพันธกันโดยกอใหเกิดพลังอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง สําหรับการคิดเชิงวิเคราะห (Analytical Thinking)มีเทคนิคในการพัฒนาตนเอง ดวยการ          ฝกแยกแยะประเด็น ฝกเทคนิคการคิดในการนําแนวคิดทฤษฎี  ที่ไดเรียนรูมาประยุกตใชกับโครงงาน ที่ จะทําและใชเทคนิค STAS Model มาชวยในการคิดวิเคราะห ไดแก Situation Theory Analysis Suggestion  สวนเทคนิคการคิดเชิงตรรกะ  (Logical  Thinking) เปนการฝกทักษะการคิดแบบความสัมพันธเชิงเหตุผล   ทั้งความสัมพันธในแนวดิ่ง และความสัมพันธในแนวนอน
1.3.ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์   
          การทําโครงงานผูเรียนจําเปนตองมีทักษะ ซึ่งอาจแบงออกได เปน 2 กลุมไดแก
          1.  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน มี 8 ทักษะ ไดแก การสังเกต การลงความเห็นจากขอมูล การจําแนกประเภท การวัดการใชตัวเลข การพยากรณ การหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
          2.  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นสูง มี 5 ทักษะ ไดแก การกําหนดและควบคุมตัวแปร การตั้งสมมุติฐาน การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การทดลอง การตีความหมายขอมูลและการลงขอสรุป       ทักษะทั้ง 5 นี้เปนเรื่องใหม และมีความสําคัญในการทําวิจัย ผูเรียนจําเปนตองทําความเขาใจใหชัดเจนกอน           


          ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน มี 8 ทักษะ ไดแก
          1. การสังเกตเปนการใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ผิวกาย และลิ้น หรือ                       อยางใดอยางหนึ่งในการสํารวจวัตถุ หรือปรากฏการณตาง ๆ หรือจากการทดลอง  เพื่อคนหา            รายละเอียด  ตาง ๆ ของขอมูล ขอมูลจากการสังเกตแบงเปน 2 ประเภท คือ
          - ขอมูลเชิงคุณภาพ เปนขอมูลจากการสังเกตคุณลักษณะของสิ่งตาง ๆ เชน สี รูปราง รส กลิ่น ลักษณะ สถานะ เปนตน
          - ขอมูลเชิงปริมาณ เปนขอมูลที่ไดจากการสังเกต ขนาด ความยาว ความสูง น้ำหนัก ปริมาตร อุณหภูมิ ของสิ่งตาง ๆ
          2. การลงความเห็นจากขอมูล เปนการอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
                              
          3.  การจําแนกประเภท  เปนการแบงพวก  จัดจําแนกเรียงลําดับวัตถุ หรือปรากฏการณตาง ๆ      ที่ตองการศึกษาออกเปนหมวดหมู  เปนระบบ ทําใหสะดวก รวดเร็ว และงายตอการศึกษาคนควา โดยการหาลักษณะหรือคุณสมบัติรวมบางประการ  หรือ หาเกณฑความเหมือน ความตาง ความสัมพันธ อยางใด อยางหนึ่งเปนเกณฑในการแบง
          4.  การวัด  เปนความสามารถในการเลือกใชเครื่องมือไดอยางถูกตองในการวัดสิ่งตาง ๆ ที่ตองการศึกษา เชน ความกวาง ความสูง ความหนา  น้ำหนัก  ปริมาตร  เวลา  และอุณหภูมิ  โดยวัดออกมาเปน
ตัวเลขไดถูกตอง รวดเร็ว มีหนวยกํากับ  และสามารถอานคาที่ใชวัดไดถูกตองใกลเคียงความเปนจริงมากที่สุด
          5.  การใชตัวเลข การใชตัวเลขหรือการคํานวณ  เปนการนับจํานวนของวัตถุ และนําคาตัวเลขที่      ไดจากการวัดและการนับมาจัดกระทําใหเกิดคาใหม  โดยการนํามา บวก ลบ คูณ หาร  เชน  การหาพื้นที่ การหาปริมาตร เปนตน
          6.  การพยากรณ  เปนความสามารถในการทํานาย  คาดคะเนคําตอบโดยใชขอมูลที่ไดจากการสังเกต ประสบการณที่เกิดซ้ำบอย ๆ  หลักการ ทฤษฎี หรือ  กฎเกณฑตาง ๆ มาชวยสรุปหาคําตอบเรื่องนั้น          การพยากรณจะแมนยํามากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับผลที่ไดจากการสังเกตที่รอบคอบ  การวัดที่แมนยํา         การบันทึกที่เปนจริง และการจัดกระทําขอมูลที่เหมาะสมผลหรือขอมูลที่ไดจากการสังเกตอยางมีเหตุผล โดยใชความรูหรือประสบการณมาอธิบายดวยความเห็นสวนตัวตอขอมูลนั้น ๆ
                                       
          7. การหาความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปส และ สเปสกับเวลา 
          สเปส (Space)หมายถึง ที่วางในรูปทรงของวัตถุ มี 3 มิติ คือ ความกวาง ความยาว และความสูง (หนา ลึก)
          ความสัมพันธระหวางสเปสกับสเปสของวัตถุ  หมายถึงความสัมพันธระหวางวัตถุ 2 มิติ กับ วัตถุ 3 มิติ  และ  ความสัมพันธระหวางตําแหนงที่อยูของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง  คือการบงชี้รูป 2 มิติ รูป 3 มิติ ได หรือสามารถวาดภาพ 3 มิติ จากวัตถุหรือภาพ 3 มิติได เปนตน
          ความสัมพันธระหวางสเปสกับเวลา หมายถึง  ความสัมพันธระหวางสเปสของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับเวลา  หรือการเปลี่ยนตําแหนงที่อยูของวัตถุกับเวลา  นั่นคือการบอกทิศทางหรือตําแหนงของวัตถุเมื่อเทียบกับตัวเองหรือสิ่งอื่น ๆ
          8. การจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล
          การจัดกระทําคือ การนําขอมูลดิบมาจัดลําดับ จัดจําพวก หาความถี่ หาความสัมพันธ หรือคํานวณใหม
          การสื่อความหมายขอมูล เปนการใชวิธีตาง ๆ เพื่อแสดงขอมูลใหผูอื่นเขาใจ เชน การบรรยาย ใชแผนภูมิ แผนภาพ : วงจร กราฟ ตาราง สมการ ไดอะแกรม เปนตน
          ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นสูง มี 5 ทักษะไดแก
          1. การกําหนดและควบคุมตัวแปร ตัวแปร  หมายถึง  สิ่งที่แตกตาง หรือ  เปลี่ยนแปลงไปจาก
เดิมเมื่ออยูในสถานการณตาง ๆ กัน ตัวแปรที่เกี่ยวของกับการทดลองทางวิทยาศาสตรมีอยู 3 ประเภท ไดแก
                   1)  ตัวแปรตน (ตัวแปรอิสระ ตัวแปรเหตุ) เปนตัวแปรเหตุที่ ทําใหเกิดผลตาง ๆ หรือ  ตัวแปรที่ เราตองการศึกษา หรือ  ทดลองดูวาเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดผลตามที่เราสังเกตใชหรือไม
            2)  ตัวแปรตาม (ตัวแปรไมอิสระ ตัวแปรผล) เปนตัวแปรที่ เกิดมาจากตัวแปรเหตุ  เมื่อตัวแปรเหตุเปลี่ยนแปลงอาจมีผลทําใหตัวแปร ตามเปลี่ยนแปลงไปได  ตัวแปรตามจําเปนตองควบคุมใหเหมือน ๆ กันเสียกอน
                   3)  ตัวแปรแทรกซอน(Extraneous Variables) เปนตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจมีผลตอ ตัวแปรตาม โดยผูวิจัยไมตองการใหเกิดเหตุการณนั้นขึ้น
                                  

          2. การตั้งสมมติฐาน เปนการคาดคะเนคําตอบของปญหาอยางมีเหตุผล  หรือการบงบอกความสัมพันธของตัวแปรอยางนอย 2 ตัว กอนที่จะทําการทดลองจริง โดยอาศัยทักษะสังเกต ประสบการณ ความรูเดิม เปนพื้นฐาน
                           
          3. การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ  นิยามเชิงปฏิบัติการหมายถึง  ความหมายของคําหรือขอความที่
ใชในการทดลองที่สามารถสังเกต  ตรวจสอบ  หรือ  ทําการวัดได  ซึ่งจําเปนตองกําหนดเพื่อความเขาใจที่ ตรงกันเสียกอนทําการทดลอง นิยามเชิงปฏิบัติการ  จะแตกตางจากคํานิยามทั่ว ๆ  ไป คือ  ตองสามารถวัด หรือ  ตรวจสอบได”  ซึ่งมักจะเปนคํานิยามของตัวแปรนั่นเอง
          4. การทดลอง เปนกระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคําตอบจากสมมุติฐานที่ตั้งไวในการทดลอง         ประกอบดวยขั้นตอนตาง ๆ 3 ขั้นตอน ดังนี้
                   1)  การออกแบบการทดลอง  คือ  การวางแผนการทดลองก อนลงมือปฏิบัติจริง            โดยกําหนดวาจะใชวัสดุอุปกรณอะไรบาง จะทําอยางไร ทําเมื่อไร มีขั้นตอนอะไร
                   2)  การปฏิบัติการทดลอง  คือ การลงมือปฏิบัติตามที่ออกแบบไว
                   3) การบันทึกผลการทดลอง คือ การจดบันทึกขอมูลตาง ๆ  ที่ไดจากการทดลอง  ซึ่งใชทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพื้นฐาน 8 ทักษะที่กลาวไปแลว
                    
          5. การตีความหมายขอมูลและการลงขอสรุปการตีความหมายขอมูล  คือ  การแปลความหมาย หรือ  การบรรยายผลของการศึกษาเพื่อใหคนอื่นเขาใจว าผลการศึกษาเปนอยางไร  เปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไวหรือไม่
          การลงขอสรุป เปนการสรุปความสัมพันธของขอมูลทั้งหมด เชน การอธิบายความสัมพันธระหวางตัวแปรบนกราฟ  การอธิบายความสัมพันธของขอมูลที่เปนผลของการศึกษา
                           
          การฝกทักษะที่จําเปนของการทําโครงงานทุกขั้นตอนอยางเปนระบบจะทําใหผูเรียนไดโครงงานและไดผลสําเร็จของโครงงานที่ มีประสิทธิภาพและเชื่อถือได

1.4.ทักษะการนำเสนอ   
          ทักษะการนําเสนอ (www. panyathai.or.th) “การนําเสนอหมายถึง การสื่อสารเพื่อเสนอขอมูล ความรู ความคิดเห็น หรือความตองการไปสูผูรับสาร โดยใชเทคนิคหรือวิธีการตาง ๆ
          ความสําคัญของการนําเสนอ ในปจจุบันนี้การนําเสนอเขามามีบทบาทสําคัญในองคกรทางธุรกิจ     ทางการเมือง  ทางการศึกษา  หรือแมแตหนวยงานของรัฐทุกแหงก็ตองอาศัยวิธีการนําเสนอเพื่อสื่อสารขอมูล เสนอความเห็น เสนอขออนุมัติ หรือเสนอขอสรุปผลการดําเนินงานตาง ๆ  กลาวโดยสรุปการนําเสนอมีความสําคัญ ตอการปฏิบัติงานทุกประเภท  เพราะ ชวยในการตัดสินใจในการดําเนินงาน  ตลอดจนเผยแพร
ความกาวหนาของงานตอผูบังคับบัญชาและบุคคลผูที่สนใจ   
จุดมุงหมายในการนําเสนอ
          1. เพื่อใหผูรับสารรับทราบความคิดเห็นหรือความตองการ
          2. เพื่อใหผูรับสารพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
          3. เพื่อใหผูรับสารไดรับความรูจากขอมูลที่นําเสนอ
          4. เพื่อใหผูรับสารเกิดความเขาใจที่ถูกตอง

ประเภทของการนําเสนอ การนําเสนอแบงออกไดเปน 2 รูปแบบ ดังนี้
          1. การนําเสนอเฉพาะกลุม
          2. การนําเสนอทั่วไปในที่สาธารณะ
ลักษณะของขอมูลที่นําเสนอ ขอมูลที่จะนําเสนอแบงออกตามลักษณะของขอมูล ไดแก
          1. ขอเท็จจริง หมายถึง ขอความที่เกี่ยวของกับเหตุการณ เรื่องราวที่เปนมาหรือเปนอยูตามความจริง
          2. ขอคิดเห็น เปนความเห็นอันเกิดจากประเด็นหรือเรื่องราวที่ชวนใหคิด ขอคิดเห็นมีลักษณะตาง ๆ กัน
การนําเสนอ เปนการนําขอมูลที่รวบรวมขอมูลที่ไดจากการศึกษามานําเสนอ หรือทําการเผยแพรใหผูที่สนใจไดรับทราบ หรือนําไปวิเคราะหเพื่อไปใชประโยชน แบงออกได 2 ลักษณะ คือ
          1. การนําเสนออยางไมเปนแบบแผน
                   1. 1 การนําเสนอในรูปของบทความ
                   1. 2. การนําเสนอขอมูลในรูปของขอความกึ่งตาราง
          2. การนําเสนอขอมูลอยางเปนแบบแผน
                   2. 1. การนําเสนอขอมูลโดยใชตาราง
                   2. 2. การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิแทง
                   2. 3 การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิวงกลม
                   2. 4 การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิรูปภาพ
                   2. 5 การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนที่สถิติ
                   2. 6 การนําเสนอขอมูลโดยใชแผนภูมิแทงเปรียบเทียบ
                 2. 7 การนําเสนอขอมูลโดยใชกราฟเสน ในการนําเสนอขอมูลแบบใดนั้นขึ้นอยูกับความเหมาะสมของขอมูล เชน ตองการแสดงอุณหภูมิของภาคตาง ๆ ควรแสดงดวยกราฟเสน ตองการแสดงการเปรียบเทียบจํานวนนักเรียนแตละระดับการศึกษา ควรใชแผนภูมิแทง เปนตน
1.5.ทักษะการพัฒนาต่อยอดความรู้
          (gotoknow. Org. และth.wikipedia.org/wiki/การจัดการความรู ) การตอยอดความรู   มีคนจัดประเภทความรูไว สองลักษณะ ไดแก ความรูฝงลึก (tacit  knowledge)  กับความรูประจักษ หรือชัดแจง (explicit  knowledge)  โดยความรูแบบฝงลึก (Tacit Knowledge) เปนความรูที่ ไม สามารถอธิบายโดย   ใชคําพูดได    มีรากฐานมาจากการกระทําและประสบการณ มีลักษณะเปนความเชื่อ ทักษะ และเปนอัตวิสัย (Subjective)  ตองการการฝกฝนเพื่อใหเกิดความชํานาญ มีลักษณะเปนเรื่องสวนบุคคล มีบริบทเฉพาะ (Contextspecific)  ทําใหเปนทางการและสื่อสารยาก เชน วิจารณญาณความลับทางการคา วัฒนธรรม    องคกร ทักษะ ความเชี่ยวชาญในเรื่องตางๆ การเรียนรูขององคกร ความสามารถในการชิมรสไวน หรือกระทั่งทักษะในการสังเกตเปลวควันจากปลองโรงงานวามีปญหาในกระบวนการผลิตหรือไม เปนความรูที่ ใชกันมากในชีวิตประจําวันและมักเปนการใชโดยไม รูตัว   และความรูประจักษ หรือชัดแจง (explicit knowledge)    เปนความรูที่รวบรวมไดงาย จัดระบบและถายโอนโดยใชวิธีการดิจิทัล มีลักษณะเปนวัตถุดิบ (Objective)     เปนทฤษฏี สามารถแปลงเปนรหัสในการถายทอดโดยวิธีการที่ เปนทางการ ไม จําเปนตองอาศัยการปฏิสัมพันธกับผูอื่ นเพื่ อถ ายทอดความรู เช น นโยบายขององคกร กระบวนการทํางาน ซอฟตแวร เอกสาร และกลยุทธ เปาหมายและความสามารถขององคกร       
         
สรุป     ทักษะที่จำเป็นในการทำโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้

ไม่มีความคิดเห็น: